top
top_02

 

             แบบฝึกหัด

      พันธะโคเวเลนต์

    1)  ข้อความเกี่ยวกับพันธะเคมีข้อใด ถูกต้อง ?

 ก.  พันธะเคมีเกิดขั้นเมื่อแต่ละอะตอมมีอิเล็กตรอนเป็นจำนวนคี่เท่านั้น

 ข.  พลังงานของพันธะเคมีจะเพิ่มขึ้นตามความยาวของพันธะเคมี

 ค.  พันธะเคมีเกิดจากแรงกระทำระหว่างอิเล็กตรอนกับอิเล็กตรอน

 ง.  พันธะเคมีเกิดขึ้นจากแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสและอิเล็กตรอน  (ข้อ ง.)

    2)  ธาตุที่สร้างพันธะกับคลอรีนได้ดีที่สุดคือ ?

 ก.  โซเดียม

 ข.  คลอรีน

 ค.  โพแทสเซียม

 ง.  แมกนีเซียม                              (ข้อ ข.)

    3)  ความยาวของพันธะ  C-O  ในโมเลกุลหรือไอออนต่อไปนี้ มีค่าลดลงตามลำดับอย่างไร ?

 
  

 

   

   

             (ข้อ ข.)

    4)  สารประกอบใดเป็นไปตามกฎออกเตต ?

 


                              (ข้อ ข.)

    5)  กำหนดให้พลังงานพันธะ  H – H = 430 kJ/mol    F – F = 160 kJ/mol    H – F = 560 kJ/mol

 ปริมาณความร้อนที่เปลี่ยนแปลงไปในปฏิกิริยา H2 (g) + F2(g)           2HF (g) เป็นอย่างไรและมีค่าเท่าใด ?

 ก.  คายความร้อน  530  kJ

 ข.  ดูดความร้อน  530  kJ

 ค.  คายความร้อน  30  kJ

 ง.  ดูดความร้อน  30  kJ                 (ข้อ ก.)

 

    6)  อะตอมกลางของสารประกอบทั้งสองในข้อใด ที่ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ?



 

                                (ข้อ ข.)

    7)  ธาตุ A และ B มีเลขอะตอม 16 และ 35 ตามลำดับ คลอไรด์ของ A และ B ควรมีรูปร่างอย่างไร ตามลำดับ ?

 ก.  สามเหลี่ยมแบนราบ , พีระมิดฐานสามเหลี่ยม

 ข.  มุมงอ , เส้นตรง

 ค.  ทรงเหลี่ยมสี่หน้า , สามเหลี่ยมแบนราบ

 ง.  พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม , เส้นตรง           (ข้อ ข.)

    8)  สารประกอบในข้อใดที่เป็นโมเลกุลมีขั้วทั้งหมด ?


 


                                   (ข้อ ง.)

    9)  จากการศึกษาสมบัติของสาร M , N , O , P พบว่า

 1. P เป็นสารไอออนิก         2. M เป็นสารไม่มีขั้ว

 3. N , O เป็นสารมีขั้ว       4. M , N , O เป็นสารโคเวเลนต์

 5. N เป็นสารที่มีพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเงกุล

ข้อใดเป็นการเรียงจุดเดือดสูงไปต่ำ ?

 ก.  P > N > O > M

 ข.  P > M > N > O

 ค.  N > P > M > O

 ง.  M > P > N > o                      (ข้อ ก.)

    10)  เหตุผลเกี่ยวกับสมบัติของธาตุในข้อใด ผิด ?

 ก. โลหะทีความมันวาว เพราะดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไว้ได้มาก

 ข.  โลหะดึงให้เป็นเส้นได้ เพราะระหว่างอนุภาคของอะตอมโลหะยังมีเวเลนต์อิเล็กตรอนยึดไว้

 ค.  แกรไฟท์แผ่ให้เป็นแผ่นบางได้ แต่ยึดให้เป็นเส้นไม่ได้ เพราะเวเลนต์อิเล็กตรอนแยกอยู่กันเป็นชั้น ๆ

 ง.  อะตอมในโลหะสร้างพันธะโดยใช้เวเลนต์อิเล็กตรอนร่วมกัน  (ข้อ ก.)

 

 

 

  หน้าแรก  ไปข้างบน พันธะโลหะ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ แบบฝึกหัด About US

Copyright© 2007 All rights reserved. ratanakosinson bankkhen Contact Us :