|
||
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
ก 1. สารประกอบคู่ คือ ถ้าสารประกอบเกิดจากธาตุโลหะที่มีไอออนได้ชนิดเดียวรวมกับโลหะห้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออน บวกแล้วตามด้วยชื่ออโลหะที่เป็นไอออนลบโดยลงเสียงพยางค์ท้ายด้วย ไ-ด์ เช่น
ถ้าสารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะเดียวกันที่มีไอออนได้หลายชนิดรวมตัวกับอโลหะให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไออนบวก แล้วตามด้วยค่าประจุของไอออนโลหะโดยวงเล็บเป็นเลขโรมัน แล้วตามด้วยอโลหะที่เป็นไอออนลบโดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ ท้ายเป็นไอด์ (ide) เช่น
2. สารประกอบธาตุสามหรือมากกว่า คือถ้าสารประกอบเกิดจากไอออนบวกของโลหะกลุ่มของไอออนบวกรวมตัวกัน กับกลุ่มไอออนลบให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะ( โลหะนั้นเกิดเป็นไออนบวกได้ชนิดเดียว ) หรือกลุ่มไอออนบวก แล้วตาม ด้วยชื่อของไอออนลบ
ถ้าสารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะเดียวกันที่มีไอออนได้หลายชนิด รวมตัวกับอโลหะให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไออนบวก ของโลหะ แล้ววงเล็บค่า ประจุของไอออนบวกนั้น แล้วจึงอ่านชื่อ กลุ่มไอออนลบตามหลังเช่น CrSo4 อ่านว่า โครเมียม (II) ซัลเฟต Hg(NO3)2 อ่านว่า เมอคิวรี (II) ไนเตรต ตารางการเรียกชื่อไอออนบวกและไอออนลบของธาตุ
4. การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก 1. เขียนไอออนบวกของโลหะหรือกลุ่มไอออนบวกไว้ข้างหน้า ตามด้วยไอออนลบของอโลหะหรือกลุ่มไอออนลบ 2. ไอออนบวกและไอออนลบ จะรวมกันในอัตราส่วนที่ทำให้ผลรวมของประจุเป็นศูนย์ ดังนั้นจึงต้องหาตัวเลขมา คูณกับจำนวนประจุบนไอออนบวกและไอออนลบให้มีจำนวนเท่ากัน แล้วใส่ตัวเลขเหล่านั้นไว้ที่มุมขวาล่างของแต่ละไอออน ซึ่งทำได้โดยใช้ จำนวนประจุบนไอออนบวกและไอออนลบคูณไขว้กัน 3. ถ้ากลุ่มไอออนบวกหรือไอออนลบมีมากกว่า 1 กลุ่ม ให้ใส่วงเล็บ ( ) และใส่จำนวนกลุ่มไว้ที่มุมล่างขวาล่าง ดังตัวอย่าง ** เนื่องจากธาตุแทรนซิชันมีเลขออกซิเดชันหลายค่า ค่าที่จะนำมาคูณไขว้ในสูตร จะเป็นเลขโรมันบอกไว้ที่ชื่อนั้นๆ **
|
|
หน้าแรก ไปข้างบน พันธะโลหะ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ แบบฝึกหัด About US Copyright© 2007 All rights reserved. ratanakosinson bankkhen Contact Us : |
||