|
|||
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
ก 8.พลังงานกับการสารประกอบไอออนิก อธิบายการเปลี่ยนแปลงแต่ละขั้น ขั้นที่ 3 โมเลกุลของก๊าซคลอรีนซึ่งเป็นก๊าซในสภาวะปกติจะเปลี่ยนให้เป็นอะตอมในสภาวะก๊าซ โดยการแตกออกหรือสลายพันธะโคเวเลนต์ พลังงานที่ใช้เพื่อสลายพันธะโคเวเลนต์ของโมเลกุลที่ประกอบด้วยอะตอมคู่ จำนวน 1 โมล แตกออกเป็นอะตอมในสภาวะก๊าซ เรียกว่า พลังงานสลายพันธะ (Dissociation energy : D) ดังสมการ
ขั้นที่ 4 อะตอมของก๊าซคลอรีนจะกลายเป็นคลอไรด์ไอออนจะต้องรับอิเล็กตรอนเข้ามา 1 ตัว ซึ่งจะต้องคายพลังงานออกมา พลังงานที่คายออกมาเมื่ออะตอมในสภาวะก๊าซรับอิเล็กตรอนเข้าไปเรียกว่า อิเล็กตรอนอัฟฟินิตี (Electron affinity : EA) หรือ สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน ดังสมการ ขั้นที่ 5 ไอออนที่เป็นก๊าซสองชนิด คือ Na+ (g) และ Cl- (g) จะทำปฏิกิริยากันโดยยึดเหนี่ยวกันด้วนพันธะไอออนิกเกิดเป็นผลผลึกของสารประกอบไอออนิก (NaCl) ซึ่งจะคายพลังงานออกมา พลังงานของการเกิดสารประกอบ NaCl = ผลรวมของพลังงานย่อยทั้ง 5 ขั้น ดังนี้ ่ |
||
หน้าแรก ไปข้างบน พันธะโลหะ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ แบบฝึกหัด About US | Copyright© 2007 All rights reserved. ratanakosinson bankkhen Contact Us : |
||