|
||
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
เกิดระหว่างโลหะกับอโลหะ ยกเว้น Be กับ B โดยโลหะจ่่ายอิเล็กตรอนออกไปกลายเป็นประจุบวก อโลหะรับอิเล็กตรอนเข้ามากลายเป็นประจุลบ ประจุบวกและประจุลงที่เกิดขึ้นจะส่งแรงดึงดูดกัน เรียกว่า "พันธะไอออนิก" พิจราณาสมบัติความเป็นไอออนิกจากค่า EN ถ้า EN ต่างกันมากจะเป็นไอออนิกมาก ถ้า EN ต่างกันน้อยจะเป็นโคเวเลนต์ ถ้า้ EN เท่ากันจะเป็นโคเวเลนต์ 100%
1. จุดเดือด จุดหลอมเหลว เพราะเป็นแรงดึงดูดระหว่างประจุทางไฟฟ้า แต่ต่ำกว่าพันธะโลหะ เพราะประจุบวก - ลบห่างกันมากกว่า 2. ในภาวะปกติ สารประกอบไอออนิกจะไม่นำไฟฟ้า จะนำได้ดีเมื่อหลอมเหลวหรือละลายน้ำ 3. พันธะไอออนิกเขียนสูตรโมเลกุลไม่ได้ เขียนได้เฉพาะสูตรอย่างง่ายหรือสูตรอย่างต่ำ 4. หน่วยที่เล็กที่สุดของพันธะไอออนิก เรียกว่า "ไอออน"
|
|
หน้าแรก ไปข้างบน พันธะโลหะ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ แบบฝึกหัด About US Copyright© 2007 All rights reserved. ratanakosinson bankkhen Contact Us : |
||