|
|||
3.การอ่านชื่อโมเลกุลโคเวเลนต์ เนื่องจากสารประกอบเหล่านี้ มีสตูรที่เขียนได้ถูกต้องหลายแบบ จึงต้องอ่านเลขอะตอมของธาตุแต่ละธาตุด้วยภาษากรีก ดังนี้
แล้วลงท้ายด้วยเสียงไอด์ (ide) เช่น
4.หลักการเขียนสูตรแสดงพันธะของโมเลกุลโคเวเลนต์ 1.สารที่มีจำนวนแขนมากที่สุด สารนั้นจะเป็นอะตอมกลาง โดยจะนวนแขนของสารต่างๆเป็นดังนี้ F Cl Br I H มี 1 แขน O S มี 2 แขน N มี 3 แขน C Si มี 4 แขน
2.สารประกอบไฮโดรคาร์บอน มีหลังดังนี้ แอลเคน มีพันธะเดี่ยวทั้งหมด แอลคีน มีพันธะคู่หนึ่งแห่ง แอลคาย มีพันธะสามหนึ่งแห่ง (ถ้าเป็นสารประกอบประเภทไดอีนจะมีพันธะคู่ 2 แห่ง)
3. กรดออกซี มีหลังการเขียนดังนนี้ ให้เอาี้ H ต่อกับ O แขนของ O อีกด้านหนึ่งต่อกับกลางส่วน O ที่เหลือจะต่อ กับอะตอมกลางแบบพันธะคู่หรือโคออร์ดิเนตก็ได้ขึ้นอยู่กับอะตอมดังกล่าวนั้น กล่าวคือ ถ้าอะตอมกลางยังไม่ครบ 8 ก็ต่อแบบพันธะคู่ แต่ถ้าอะตอมกลางครบ 8 แล้วให้ต่อแบบโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ 4. สารประกอบออกซิเจนล้อมรอบ มีหลังดังนี้ ให้เอา O ล้อมรอบอะตอมกลางแล้วดูว่าครบ 8 แล้วหรือยังถ้ายังไม่ครบ จะเกิดพันธะคู่ แต่ถ้าครบแล้วจะเกิดพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ ตารางตัวอย่างสูตรโครงสรา้งพันธะ
|
|||
|
|||
หน้าแรก ไปข้างบน พันธะโลหะ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ แบบฝึกหัด About US | Copyright© 2007 All rights reserved. ratanakosinson bankkhen Contact Us : |
||