|
|||
13. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุึล แบ่งเป็น 2 ประเภท 1.แรงแวนเดอร์วาลส์ (Van Der Waal Borces) - แรงลอนดอน - แรงดึงดูดระหว่างขั้ว 2.พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen Bond) 1.แรงแวนเดอร์วาลส์ เป็นแรงยุึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุึลที่ไม่แข็งแรงนัก แบ่งออกเป็น 1.1 แรงลอนดอน เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุึลไม่มีขั้วแรงนี้ขจะมีสภาพเกิดขุึ้นชั้วคราวเนื่องจากอิเล็กตรอนใน อะตอมไม่อยู่นิ่ง ความหนาแน่น ของอิเล็กตรอนรอบๆนิวเครียสเปลี่ยนแปลงได้ทำให้ชความหนาแน่นของอิเล็กตรอนไม่สม่ำเสมอ จึงเกิดเป็นขั้วขึ้นและ โมเลกุึลที่อยู่ข้างเคียงถูกเหนี่ยวนำให้เกิดขั้วขุึ้นเช่นกัน แล้วโมเลกุึลเหล่านั้นก็จะเกิดแรงดึงดูดกัน เรียกว่า "แรงลอนดอน" 1.2 แรงดึงดูดระหว่างขั้ว เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุึลที่แข็งแรงกว่าแรงลอนดอนนอกจากสารพวกนี้นอกจากจะม ีแรงลอนดอนแล้ว ยังขึ้นกับสภาพของขั้วด้วย 2.พันธะไฮโดรเจน เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุึลที่สภาพขั้วสูงมาก เกิดจากธาตุึ H และธาตุึที่มีค่า อิเล็กโทรเนกาติวิตี้สูงและมีขนาดเล็ก ได้แก่ F,O,N สภาพขั้วที่สูงเพราะมีผมต่าง EN มาก ตัวอย่างสารที่เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุึลเป็นพันธะไฮโดรเจน
กราฟแสดงจดเดือดของไฮโดรเุึจนกันธาตุึหมู่ IV,V,VI, และ VII
*สารใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุึลเป็นพันธะไฮโดรเจนจะมีแรงยึดเหนี่ยวที่อ่อนกว่าปนอยู่ด้วยในที่นี้ คือ แรงดึงดูด ระหว่างขั้วและแรงลอนดอน *สารใดที่มีแรงยึดเหนี่ยวดมเลกุึลเป็นเรงระหว่างขั้ว จะมีแรงลอดดอนปนอยู่ด้วย *โมเลกุึลไม่มีขั้วจะยึดด้วยแรงลอดดอนเพียงอย่างเดียว
**หมายเหตุึ สารประกอบที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุึลเฉพราะแรงลอนดอน อาจมีจุึดเดือดสูงกว่าสารประกอบที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุึลเป็น พันธะไฮโดรเจนก็ได้ ถ้าสารนั้นมีมวลและโมเลกุึลมากกว่ามากๆๆ **
|
|||
|
|||
หน้าแรก ไปข้างบน พันธะโลหะ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ แบบฝึกหัด About US | Copyright© 2007 All rights reserved. ratanakosinson bankkhen Contact Us : |
||